วันศุกร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553
ในหลวงพระราชทานพรปีใหม่ชาวไทย
โอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน ส.ค.ส.แก่ประชาชนชาวไทย เป็นพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฉลองพระองค์สากลสีครีม ผ้าปักกระเป๋าฉลองพระองค์สูทและเนกไทเป็นลายริ้วสีเหลืองสลับเทา ฉลองพระองค์ชั้นในเป็นเชิ้ตขาว ประทับพระเก้าอี้ ด้านข้างพระเก้าอี้ทั้งสองข้างมีโต๊ะสูง โต๊ะด้านซ้ายวางแจกันแก้วก้านสูงปักดอกไม้หลากสี โต๊ะด้านขวาวางแจกันแก้วขนาดเล็กปักดอกไม้หลากสีเช่นกัน ทรงฉายกับสุนัขทรงเลี้ยง 2 สุนัข คือ คุณทองแดง ที่ทรงเลี้ยงมาตั้งแต่ปี 2541 โดยหมอบอยู่หน้าพระเก้าอี้ด้านซ้ายพระหัตถ์ และคุณทองแท้ ที่ทรงเลี้ยงมาตั้งแต่ปี 2542 หมอบอยู่หน้าพระเก้าอี้ด้านขวาพระหัตถ์
ด้านหลังพระเก้าอี้ที่ประทับเป็นผ้าม่านสีเทาอ่อน มีแจกันดอกไม้ขนาดใหญ่ปักดอกกุหลาบและดอกไฮเดรนเยียหลากสีตั้งอยู่ 2 แจกัน แจกันด้านขวาพระหัตถ์มีตราพระมหาพิชัยมงกุฎประดับอยู่ แจกันดอกไม้ด้านซ้ายพระหัตถ์มีผอบทองประดับอยู่ ถัดไปทางด้านหลังทั้งสองด้านมีกระถางไม้ประดับอยู่
มุมบนด้านซ้าย มีตัวอักษรสีเหลืองข้อความว่า ส.ค.ส.สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๔ มุมบนด้านขวามีข้อความภาษาอังกฤษ Happy New Year 2011 ด้านล่างของ ส.ค.ส.มีข้อความเป็นตัวหนังสือพิมพ์ด้วยสีน้ำเงินว่า ขอจงมีความสุข ความเจริญ มุมล่างขวา มีข้อความ ก.ส.9 ปรุง 1211923 พิมพ์ที่โรงพิมพ์สุวรรณชาด ท. พรหมบุตร, ผู้พิมพ์โฆษณา Printed at the Suvarnnachad publishing, D Bramaputra, Publisher
กรอบ ส.ค.ส.พระราชทานเป็นภาพใบหน้าคนเล็กๆ เรียงกันด้านละ 3 แถว ทุกหน้ามีแต่รอยยิ้ม
วันพฤหัสบดีที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2553
คลิปเขมรส่ง7คนไทยเข้าคุกหลังขึ้นศาล
เจ้าหน้าที่เขมรได้นำตัวนายพนิช วิกิตเศรษฐ ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ และคนไทยอีก 6 คน ขึ้นศาลชั้นต้นในกรุงพนมเปญของกัมพูชาเพื่อรับฟังข้อหารุกล้ำชายแดนในช่วงเช้าวันที่ 30 ธ.ค. หลังถูกทหารกัมพูชาจับกุมตัวได้ในจังหวัดบันเตยเมียนเจย เมื่อวานนี้ เพื่อเข้าสู่กระบวนการไต่สวน โดยใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง หลังจากนั้นทางการกัมพูชาได้ส่ง 7 คนไทยเข้าไปคุมขังในเรือนจำเช่นเดิม
ขณะที่นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เข้าพบและหารือกับ นายฮอร์ นัมฮง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและความร่วมมือระหว่างประเทศกัมพูชา กรณีคนไทย 7คนทันที ด้านสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา กล่าวว่า เมื่อคนไทยทั้ง 7 คนเข้าไปในเขตแดนของกัมพูชา ดังนั้นจึงมีสิทธิจับกุม
"พวกเขาจะถูกส่งไปขึ้นศาลในวันที่ 30 ธันวาคม เมื่อศาลตั้งข้อหาแล้ว พวกเขาจะถูกจำคุกที่เรือนจำเพรย์ซอว์" สมเด็จฮุน เซน กล่าว
ขณะที่นายกษิต ภิรมย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เข้าพบและหารือกับ นายฮอร์ นัมฮง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและความร่วมมือระหว่างประเทศกัมพูชา กรณีคนไทย 7คนทันที ด้านสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา กล่าวว่า เมื่อคนไทยทั้ง 7 คนเข้าไปในเขตแดนของกัมพูชา ดังนั้นจึงมีสิทธิจับกุม
"พวกเขาจะถูกส่งไปขึ้นศาลในวันที่ 30 ธันวาคม เมื่อศาลตั้งข้อหาแล้ว พวกเขาจะถูกจำคุกที่เรือนจำเพรย์ซอว์" สมเด็จฮุน เซน กล่าว
วันพุธที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2553
อ.โสรัจเผยประวัติอักษรธรรมอักษรไทยน้อย
สมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (มจร.) 79 หมู่ที่ 1 ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้เผยแพร่บันทึกสัมภาษณ์อาจารย์โสรัจ นามอ่อน ครูภูมิปัญญาไทย คนดีศรีสยาม และเป็นผู้เชี่ยวชาญอักษรธรรมอีสาน อาจารย์พิเศษ มจร.วิทยาเขตอุบลราชธานี เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2553 โดยเกษม แสงนนท์ เกี่ยวกับความเป็นมาของอักษรธรรม อักษรไทยน้อย ผ่านทางเว็บไซต์
Dai_Lue_Alphabet_part1 http://www.mahachula.com/main.php?url=vdo_view&id=12
Dai_Lue_Alphabet_part1 http://www.mahachula.com/main.php?url=vdo_view&id=12
วันจันทร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2553
KAVI - Asean and the Lady
Aung San Suu Kyi’s release from house arrest offers Asean a chance to re-engage with Burma on the issue of democratic reform
In the afternoon of Nov. 22, an official of the Philippines’ ruling Liberal Party received a call from his counterpart in Burma’s outlawed National League for Democracy. Moments later, the phones at both ends changed hands, and soon Philippine President Benigno Aquino III was speaking with Burmese Nobel Peace Prize laureate and pro-democracy icon Aung San Suu Kyi.
During their 15-minute conversation, Suu Kyi thanked Aquino for supporting democracy in Burma, and he responded by saying that he would do whatever he could to promote reform in the military-ruled country. He went on to say that instability in Burma was adversely affecting its neighbors, as seen recently with the influx of refugees into Thailand due to fighting near the two countries’ border. He also reiterated that while other leaders from the Association of Southeast Asian Nations (Asean) were not as vocal in expressing their desire to see real change in Burma, they shared his view that the country must move toward democracy and stability—not only for its own sake, but also for that of its neighbors.
A senior aide to Aquino told The Irrawaddy that the president also discussed the limits of his role in dealing with Burma. According to the aide, Aquino informed Suu Kyi that diplomatic and political protocols within Asean made it difficult for him to be more overt in his efforts to help Burma, but added that he would try to play a role within those parameters. At the Hanoi summit in October, Aquino was the only Asean leader calling for Suu Kyi’s freedom.
This sentiment immediately harked back to similar diplomatic maneuvers of more than a decade ago. In July 1999, Thailand’s then foreign minister, Dr Surin Pitsuwan, surprised his Asean colleagues during an informal meeting in Manila by proposing that the time had come to adopt a more proactive “flexible engagement” policy to address issues related to Burma. As he envisaged it, this approach was about open and frank discussion on issues of mutual concern among members that would lead to common solutions.
When it comes to the situation in Burma, Aquino and Surin—who is now the secretary-general of Asean—share a common vision of how the grouping can deal with problems facing member states and the organization as a whole. This vision is still very much alive, despite the Burmese regime’s recalcitrance. It was most recently in evidence 10 days before Burma’s controversial Nov. 7 election, when Asean leaders appealed to the junta to ensure that the country’s first vote in two decades was free, fair and inclusive. The regime gave its usual assurances that this would be the case, but at the same time spurned offers of help with the election. Despite the consistent refusal of Burma’s ruling generals to accept the so-called Asean peer review and assistance, however, the grouping has never totally given up on the country. The views that Aquino alluded to among his colleagues are the product of long-standing perseverance and engagement with Burma. The attempt to get the regime to accept Asean involvement in the election was just the bloc’s latest effort to push the envelope.
On other occasions, these efforts have clearly paid off. The rehabilitation of the Irrawaddy delta in the aftermath of Cyclone Nargis demonstrated how resilient Asean could be in coping with a stubborn member country. Citing principles and norms enshrined in the Asean Charter and the concept of collective responsibility, the grouping finally managed to persuade the regime to allow outsiders to play a role in dealing with a domestic crisis. Asean successfully spearheaded an international humanitarian assistance effort, working alongside the junta and the United Nations and international relief agencies. This process of re-engagement with Burma despite restrictions will not only continue but will intensify in the post-election period.
At present, Asean leaders are saying very little about the current political transition. They are willing to watch from the sidelines for the time being, waiting for a new government to be formed early next year. They are hoping to forge a concrete proposal to assist Burma in reinforcing future changes—whatever they might be.
KAVI CHONGKITTAVORN
GUEST COLUMN
http://www.irrawaddymedia.com/article.php?art_id=20385
In the afternoon of Nov. 22, an official of the Philippines’ ruling Liberal Party received a call from his counterpart in Burma’s outlawed National League for Democracy. Moments later, the phones at both ends changed hands, and soon Philippine President Benigno Aquino III was speaking with Burmese Nobel Peace Prize laureate and pro-democracy icon Aung San Suu Kyi.
During their 15-minute conversation, Suu Kyi thanked Aquino for supporting democracy in Burma, and he responded by saying that he would do whatever he could to promote reform in the military-ruled country. He went on to say that instability in Burma was adversely affecting its neighbors, as seen recently with the influx of refugees into Thailand due to fighting near the two countries’ border. He also reiterated that while other leaders from the Association of Southeast Asian Nations (Asean) were not as vocal in expressing their desire to see real change in Burma, they shared his view that the country must move toward democracy and stability—not only for its own sake, but also for that of its neighbors.
A senior aide to Aquino told The Irrawaddy that the president also discussed the limits of his role in dealing with Burma. According to the aide, Aquino informed Suu Kyi that diplomatic and political protocols within Asean made it difficult for him to be more overt in his efforts to help Burma, but added that he would try to play a role within those parameters. At the Hanoi summit in October, Aquino was the only Asean leader calling for Suu Kyi’s freedom.
This sentiment immediately harked back to similar diplomatic maneuvers of more than a decade ago. In July 1999, Thailand’s then foreign minister, Dr Surin Pitsuwan, surprised his Asean colleagues during an informal meeting in Manila by proposing that the time had come to adopt a more proactive “flexible engagement” policy to address issues related to Burma. As he envisaged it, this approach was about open and frank discussion on issues of mutual concern among members that would lead to common solutions.
When it comes to the situation in Burma, Aquino and Surin—who is now the secretary-general of Asean—share a common vision of how the grouping can deal with problems facing member states and the organization as a whole. This vision is still very much alive, despite the Burmese regime’s recalcitrance. It was most recently in evidence 10 days before Burma’s controversial Nov. 7 election, when Asean leaders appealed to the junta to ensure that the country’s first vote in two decades was free, fair and inclusive. The regime gave its usual assurances that this would be the case, but at the same time spurned offers of help with the election. Despite the consistent refusal of Burma’s ruling generals to accept the so-called Asean peer review and assistance, however, the grouping has never totally given up on the country. The views that Aquino alluded to among his colleagues are the product of long-standing perseverance and engagement with Burma. The attempt to get the regime to accept Asean involvement in the election was just the bloc’s latest effort to push the envelope.
On other occasions, these efforts have clearly paid off. The rehabilitation of the Irrawaddy delta in the aftermath of Cyclone Nargis demonstrated how resilient Asean could be in coping with a stubborn member country. Citing principles and norms enshrined in the Asean Charter and the concept of collective responsibility, the grouping finally managed to persuade the regime to allow outsiders to play a role in dealing with a domestic crisis. Asean successfully spearheaded an international humanitarian assistance effort, working alongside the junta and the United Nations and international relief agencies. This process of re-engagement with Burma despite restrictions will not only continue but will intensify in the post-election period.
At present, Asean leaders are saying very little about the current political transition. They are willing to watch from the sidelines for the time being, waiting for a new government to be formed early next year. They are hoping to forge a concrete proposal to assist Burma in reinforcing future changes—whatever they might be.
KAVI CHONGKITTAVORN
GUEST COLUMN
http://www.irrawaddymedia.com/article.php?art_id=20385
วันเสาร์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2553
การแข่งขันภาษาและวัฒนธรรมไทเขิน
ทำนองซอ พระลอ
การแข่งขันภาษาและวัฒนธรรมไทเขินโรงเรียนภาคฤดูร้อนครั้งที่ ๗ สถานที่ วัดบ้านเหม้า ตำบลยางลอ นครเชียงตุง เดือน ๗ ขึ้น ๑๑ ค่ำ จ.ศ.๑๓๗๒ วันเสาร์ที่ ๒๔ เมษายน ค.ศ.๒๐๑๐
เพลงประกอบ "มงช่ะช่ะ ปีใหม่" จายพ้อมแสงเมิง ขับร้อง
พ่อเด็กพิการกระโดดลงกลางสภาโรมาเนียประท้วง
ในระหว่างที่สภาผู้แทนราษฎรประเทศโรมาเนียเมื่อวันที่ 23 ธ.ค. กำลังจะพิจารณาลงมติกรณีที่รัฐบาลได้ตัดเงินช่วยเหลือเด็กพิการ ปรากฏว่าทันใดนั้นชายผู้เป็นพ่อของเด็กพิการซึ่งนั่งฟังการพิจารณาอยู่ได้กระโดดลงกลางห้องประชุมซึ่งสูงประมาณ 3 เมตร พร้อมกับตะโกนว่า "เสรีภาพและความยุติธรรม" เพื่อเป็นการประท้วง ทำให้ได้รับบาดเจ็บแม้นจะไม่สาหัส สร้างความตกตะลึงให้กับสมาชิกให้ห้องประชุมอย่างมาก
ตามที่สำนักข่าว RussiaToday ได้รายงานว่า Romania's Parliament cancelled a no-confidence vote on Thursday after a father whose payments for his disabled child had been cut by the Romanian government leapt from a balcony in his country's parliament in protest at the decision. He was not seriously injured. A loud thud reverberated in the chamber after the man, Adrian Sobaru - identified by the country's public television station as one of its engineers - hit the benches shortly after Prime Minister Emil Boc greeted the lawmakers. As he jumped, he could be heard shouting: 'Boc, you've taken away the rights of our children'. Mr Sobaru, who suffered fractures to the face, and other non life-threatening injuries, was able to get into the parliament because he works as an electrician for the national television station. He then shouted "Liberty and Justice" as he was taken to hospital. He was also wearing a T-shirt with the slogan: 'You've killed our future', according to reports.
วันพุธที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2553
สมเด็จพระเทพฯเสด็จฯรัฐอัสสัมอินเดียที่มีคนไทอาศรัยอยู่
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเยือนสาธารณรัฐอินเดียอย่างเป็นทางการ ระหว่างวันที่ 1-8 กุมภาพันธ์ 2552 โดยก่อนที่จะเสด็จฯ ยังกรุงนิวเดลี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯ เยือนรัฐอัสสัมในระหว่างวันที่ 1-4 กุมภาพันธ์ 2552 ด้วย
วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553
วันอาทิตย์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2553
วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2553
เขื่อนจีนพ่นพิษกระทบวิถีชีวิตไทใหญ่รัฐฉาน
องค์กรสภาวะสิ่งแวดล้อมไทใหญ่ เครือข่ายปฏิบัติงานผู้หญิงไทใหญ่ ได้ออกแถลงการณ์เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2553 เรื่องเขื่อนใหม่ในจีนท้าลายการค้าทางน้าบริเวณพรมแดนหลักติดต่อเขตพม่า ความว่า
เขื่อนผลิตไฟฟ้าพลังน้ำที่เพิ่งสร้างเสร็จในแม่น้ำหลงเจียง มณฑลยูนนาน ประเทศจีน สร้างผลกระทบอย่างรุนแรงต่อชาวบ้านหลายพันคน ซึ่งพึ่งพาการค้าทางน้ำบริเวณพรมแดนตอนเหนือของรัฐฉานในพม่าตามข้อมูลของรายงานฉบับใหม่ของนักวิจัยไทใหญ่ในพื้นที่
รายงาน ความผันแปรที่ท้ายน้า: ผลกระทบจากเขื่อนหลงเจียงของจีนต่อชุมชนไทใหญ่ โดยองค์กรสภาวะสิ่งแวดล้อมไทใหญ่ (Shan Sapawa Environmental Organisation) และเครือข่ายปฏิบัติงานผู้หญิงไทใหญ่ (Shan Women’s Action Network - SWAN) เผยให้เห็นว่าระดับน้ำขึ้นลงที่ผันผวนจนไม่อาจหยั่งค้านวณภายหลังการก่อสร้างเขื่อนหลงเจียง ที่มีความความสูง 110 เมตร ประมาณเหนือน้ำขึ้นไป 30 กิโลเมตรเมื่อกลางปี 2553 ส่งผลกระทบต่อการค้าขายและการเดินทางในพื้นที่ข้ามแม่น้ำฉ่วยหลี่ ใกล้กับจุดข้ามแดนหมู่แจ้และน้ำคำอย่างไร (ฉ่วยหลี่เป็นชื่อของแม่น้ำหลงเจียงในภาษาพม่า)
ชาวบ้านประมาณ 16,000 คนพึ่งพารายได้จากการขนถ่ายสินค้าข้ามแม่น้ำบริเวณใกล้จุดผ่านแดนหมู่แจ้ ซึ่งเป็นจุดผ่านแดนด้านการค้าหลักระหว่างจีน-พม่า รายได้ของพวกเขาลดลงอย่างมากเนื่องจากระดับน้ำที่ขึ้นและลงอย่างฉับพลันและต่อเนื่อง ส่งผลให้เรือขนถ่ายสินค้าบางครั้งก็ติดอยู่กับท้องน้ำ บางครั้งก็ถูกน้ำท่วม
“ชาวบ้านที่นี่มีชีวิต กิน และทางานกับแม่น้าสายนี้...ชาวบ้านไม่สามารถทางานได้เมื่อน้าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและลดลงแบบนี้” ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบรายหนึ่งกล่าว
ชาวบ้านเรียกร้องให้ทางการจีนสอบสวนสาเหตุและหาทางลดผลกระทบที่ร้ายแรงของเขื่อนโดยทันที ผู้เขียนรายงานก็เรียกร้องให้มีการประเมินผลกระทบข้ามพรมแดนส้าหรับเขื่อนที่จะสร้างในอนาคตในจีน
"ควรมีการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมของโครงการเหล่านี้ ที่มีต่อตลอดช่วงความยาวแม่น้ำ ไม่ว่าจะอยู่ในพรมแดนประเทศใด ไม่ว่าจะเป็นแม่น้ำหลงเจียง แม่น้ำโขง หรือสาละวิน ประเทศจีนควรให้ความส้าคัญต่อความอุดมสมบูรณ์ของแม่น้ำที่ใช้ร่วมกัน รวมทั้งชุมชนที่ต้องพึ่งพาแม่น้ำ” จาย จาย โฆษกกลุ่มสภาวะกล่าว
ที่ผ่านมามีการวิพากษ์วิจารณ์ในระดับนานาชาติมากขึ้นถึงผลกระทบด้านใต้น้ำของเขื่อนที่ประเทศจีนสร้างในแม่น้ำโขง ในเวลาเดียวกันจีนยังมีแผนสร้างเขื่อน 13 แห่งในแม่น้ำสาละวิน
ดูรายละเอียดได้ที่ http://www.shanwomen.org/thai/files/high&dry_thai.pdf
เขื่อนผลิตไฟฟ้าพลังน้ำที่เพิ่งสร้างเสร็จในแม่น้ำหลงเจียง มณฑลยูนนาน ประเทศจีน สร้างผลกระทบอย่างรุนแรงต่อชาวบ้านหลายพันคน ซึ่งพึ่งพาการค้าทางน้ำบริเวณพรมแดนตอนเหนือของรัฐฉานในพม่าตามข้อมูลของรายงานฉบับใหม่ของนักวิจัยไทใหญ่ในพื้นที่
รายงาน ความผันแปรที่ท้ายน้า: ผลกระทบจากเขื่อนหลงเจียงของจีนต่อชุมชนไทใหญ่ โดยองค์กรสภาวะสิ่งแวดล้อมไทใหญ่ (Shan Sapawa Environmental Organisation) และเครือข่ายปฏิบัติงานผู้หญิงไทใหญ่ (Shan Women’s Action Network - SWAN) เผยให้เห็นว่าระดับน้ำขึ้นลงที่ผันผวนจนไม่อาจหยั่งค้านวณภายหลังการก่อสร้างเขื่อนหลงเจียง ที่มีความความสูง 110 เมตร ประมาณเหนือน้ำขึ้นไป 30 กิโลเมตรเมื่อกลางปี 2553 ส่งผลกระทบต่อการค้าขายและการเดินทางในพื้นที่ข้ามแม่น้ำฉ่วยหลี่ ใกล้กับจุดข้ามแดนหมู่แจ้และน้ำคำอย่างไร (ฉ่วยหลี่เป็นชื่อของแม่น้ำหลงเจียงในภาษาพม่า)
ชาวบ้านประมาณ 16,000 คนพึ่งพารายได้จากการขนถ่ายสินค้าข้ามแม่น้ำบริเวณใกล้จุดผ่านแดนหมู่แจ้ ซึ่งเป็นจุดผ่านแดนด้านการค้าหลักระหว่างจีน-พม่า รายได้ของพวกเขาลดลงอย่างมากเนื่องจากระดับน้ำที่ขึ้นและลงอย่างฉับพลันและต่อเนื่อง ส่งผลให้เรือขนถ่ายสินค้าบางครั้งก็ติดอยู่กับท้องน้ำ บางครั้งก็ถูกน้ำท่วม
“ชาวบ้านที่นี่มีชีวิต กิน และทางานกับแม่น้าสายนี้...ชาวบ้านไม่สามารถทางานได้เมื่อน้าเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและลดลงแบบนี้” ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบรายหนึ่งกล่าว
ชาวบ้านเรียกร้องให้ทางการจีนสอบสวนสาเหตุและหาทางลดผลกระทบที่ร้ายแรงของเขื่อนโดยทันที ผู้เขียนรายงานก็เรียกร้องให้มีการประเมินผลกระทบข้ามพรมแดนส้าหรับเขื่อนที่จะสร้างในอนาคตในจีน
"ควรมีการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมของโครงการเหล่านี้ ที่มีต่อตลอดช่วงความยาวแม่น้ำ ไม่ว่าจะอยู่ในพรมแดนประเทศใด ไม่ว่าจะเป็นแม่น้ำหลงเจียง แม่น้ำโขง หรือสาละวิน ประเทศจีนควรให้ความส้าคัญต่อความอุดมสมบูรณ์ของแม่น้ำที่ใช้ร่วมกัน รวมทั้งชุมชนที่ต้องพึ่งพาแม่น้ำ” จาย จาย โฆษกกลุ่มสภาวะกล่าว
ที่ผ่านมามีการวิพากษ์วิจารณ์ในระดับนานาชาติมากขึ้นถึงผลกระทบด้านใต้น้ำของเขื่อนที่ประเทศจีนสร้างในแม่น้ำโขง ในเวลาเดียวกันจีนยังมีแผนสร้างเขื่อน 13 แห่งในแม่น้ำสาละวิน
ดูรายละเอียดได้ที่ http://www.shanwomen.org/thai/files/high&dry_thai.pdf
วันพุธที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2553
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)